Skip to content. | Skip to navigation

Personal tools
Log in
This Logo Viewlet registered to qPloneSkinBusiness4 product
You are here: Home สร้างห้องสมุดอย่างไรให้ถูกใจเด็ก ทำไมห้องสมุดเด็กและครอบครัวจึงไม่มีโทรทัศน์หรือสื่อภาพและเสียง

ทำไมห้องสมุดเด็กและครอบครัวจึงไม่มีโทรทัศน์หรือสื่อภาพและเสียง

kid and TVในวันหนึ่งๆของชีวิตเด็กๆมีโอกาสพบเห็นโทรทัศน์เป็นเวลาหลายชั่วโมงอยู่แล้ว  ทั้งโดยตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจ ผลการวิจัยต่างๆก็พบเห็นแง่มุมทางลบหลายด้าน ซึ่งผู้บริหารห้องสมุดต้องทำความเข้าใจให้ดีก่อนตัดสินใจนำโทรทัศน์เข้าห้องสมุดเพราะเด็กๆนั้นพร้อมจะเข้าหาสื่อที่ง่ายและมีสีสันเร่งเร้าอยู่เป็นทุนเดิม ส่วนการเข้าถึงหนังสือนั้นยากกว่า เนื่องจากเป็นสื่อที่นิ่ง และต้องใช้ความพยายาม ที่สำคัญต้องอยู่ในความสงบ ซึ่งเชื่อมโยงไปถึงสมาธิที่เด็กจะได้ตามมา (อันเป็นสิ่งตรงกันข้ามกับโทรทัศน์) อีกประการหนึ่งที่ต้องไม่ลืมคือ หนังสือไม่มีพลังความสามารถในการเข้าหาเด็ก หากต้องผู้คนเป็นสื่อกลางแต่โทรทัศน์รุกเข้าหาเด็กๆได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องพึ่งพาคนใกล้ชิดกับเด็ก ดังนั้นจึงไม่มีความสัมพันธ์หรือความรักเกิดขึ้นระหว่างเด็กกับสื่อเหล่านั้น แต่หนังสือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กๆกับมนุษย์คนอื่นๆขึ้นมาตลอดเวลา เด็กๆที่เติบโตมากับหนังสือจึงพร้อมจะเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์มากกว่า

Home
จัดหนังสือให้เด็กไทยทุกคน
การพัฒนาเด็กด้วยการอ่าน
หนังสือสำหรับเด็ก
โครงการพัฒนาเด็กด้วยการอ่าน
พัฒนาห้องสมุดและการอ่าน
การเลี้ยงดูลูก
โครงการสร้างนักอ่าน
หนังสือภาพกับการเรียนรู้ของเด็ก
หนังสือที่สมาคมเลือกใช้
สร้างห้องสมุดอย่างไรให้ถูกใจเด็ก
วิเคราะห์หนังสือภาพสำหรับเด็ก
แนะนำหนังสือภาพสำหรับเด็ก
แนะนำหนังสือผ่านการคัดเลือก
ข้อมูลเกี่ยวกับสมาคม
Download
ติดต่อสมาคม
การอ่านวรรณกรรมเยาวชนในโรงเรียนประถมศึกษา
นักเรียนจดจำเรื่องราวที่อ่านได้
การอ่านคือทางรอด ไม่ใช่แค่ทางเลือก
ส่งเสริมการอ่านระยะสั้นไม่เคยได้ผล
การอ่านสะสม
Zipf’s Law - วรรณกรรม - การอ่านของนักเรียน
นับคำที่อ่าน
ปริมาณการอ่านสะสม
ทำไมเด็กที่เรียนอ่านกับ มานะ มานี จึงอ่านออกทุกคน
 
สร้างห้องสมุดอย่างไรให้ถูกใจเด็ก